วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท  คือ
1.ระบบปฏิบัติการ(Operating  System : OS)
2.ตัวแปลภาษา
             1.ระบบปฏิบัติการ หรืที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส (Operating  System : OS)
เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์  เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้  ระบบปฏิบัติการที่นิยมมากและเป็นที่รู้จักกันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช  เป็นต้น
     1)ดอส (Disk Operating System : Dos)
เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบที่พัฒนามานานแล้ว  การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร   ดอสดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
    2)วินโดวส์ (Windows)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้ จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียว
    3)ยูนิกซ์(Unix)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้ง ใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (Opeen system)ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดๆระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน  ยูนิกซ์ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช(multiusers)และสามารถทำงานได้หลายๆงานเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่าระบบหลายภารกิจ(multitasking)ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานราวมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
    4)ลีนุกซ์(linux)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกซ์  เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบระบบปฏิบัติการ  ระบบปฏิบัติการ ลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่ทำงานระบบลีนุกซ์จำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มของกูส์นิว(GNU)สิ่งที่สำคัญที่สุดคือระบบลีนุกซ์
 ระบบลีนุกซ์  สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล  เช่น อินเทล (PC Intel)ดิจิตอล(Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค (SUNSPARC) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม  แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้  และ ช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน ลีนุกซ์กันมากขึ้น
5)แมคอินทอซ(macintosh)เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์  แมคอินทอส ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
           ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งาน สามารถจำแนกได้ 3 ชนิดด้วยกัน คือ
   1.ประเภทใช้งานเดียว(Single-tasking)ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น   ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์  เช่น  ระบบปฏิบัติดอส เป็นต้น
   2.ประเภทใช้หลายงาน(Multi-tasking)ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน  ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในดวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows98 ขึ้นไปและ UNIX เป็นต้น
   3.ประเภทใช้งานหลายคน(Multi-user)ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้งานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล  ทำให้ขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิเตอร์จะต้องใช้กับระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง

2.  ตัวแปลภาษา
       การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
       ภาษาระดับสูงมีหลายระดับซึ่งสร้างให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย  เข้าใด้  และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ภายหลังได้
        ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา  ซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษาBasic,Pascal,C และ ภาษาโลโก้ เป็นต้น
         นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Cobol

             2.2  ซอฟแวร์ประยุกต์(Application  Software)
       ซอฟแวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท  คือ
1.ระบบปฏิบัติการ(Operating  System : OS)
2.ตัวแปลภาษา
             1.ระบบปฏิบัติการ หรืที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส (Operating  System : OS)
เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์  เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้  ระบบปฏิบัติการที่นิยมมากและเป็นที่รู้จักกันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช  เป็นต้น
     1)ดอส (Disk Operating System : Dos)
เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบที่พัฒนามานานแล้ว  การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร   ดอสดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
    2)วินโดวส์ (Windows)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้ จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียว
    3)ยูนิกซ์(Unix)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้ง ใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (Opeen system)ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดๆระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน  ยูนิกซ์ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช(multiusers)และสามารถทำงานได้หลายๆงานเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่าระบบหลายภารกิจ(multitasking)ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานราวมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
    4)ลีนุกซ์(linux)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกซ์  เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบระบบปฏิบัติการ  ระบบปฏิบัติการ ลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่ทำงานระบบลีนุกซ์จำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มของกูส์นิว(GNU)สิ่งที่สำคัญที่สุดคือระบบลีนุกซ์
 ระบบลีนุกซ์  สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล  เช่น อินเทล (PC Intel)ดิจิตอล(Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค (SUNSPARC) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม  แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้  และ ช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน ลีนุกซ์กันมากขึ้น
5)แมคอินทอซ(macintosh)เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์  แมคอินทอส ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
           ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งาน สามารถจำแนกได้ 3 ชนิดด้วยกัน คือ
   1.ประเภทใช้งานเดียว(Single-tasking)ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น   ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์  เช่น  ระบบปฏิบัติดอส เป็นต้น
   2.ประเภทใช้หลายงาน(Multi-tasking)ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน  ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในดวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows98 ขึ้นไปและ UNIX เป็นต้น
   3.ประเภทใช้งานหลายคน(Multi-user)ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้งานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล  ทำให้ขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคนแต่ละคนจะมีสถานีของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิเตอร์จะต้องใช้กับระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง

2.  ตัวแปลภาษา
       การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
       ภาษาระดับสูงมีหลายระดับซึ่งสร้างให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย  เข้าใด้  และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ภายหลังได้
        ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา  ซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษาBasic,Pascal,C และ ภาษาโลโก้ เป็นต้น
         นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Cobol

             2.2  ซอฟแวร์ประยุกต์(Application  Software)
       ซอฟแวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน
                 
หน่วยที่4
ซอฟต์แวร์(software)
                 ซอฟต์แวร์ คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการเรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าว จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ซไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
                                   หน้าที่ของซอฟต์แวร์
         ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์  ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์  เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย  ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท
                               ประเภทของซอฟต์แวร์
            ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น3ประเภทใหญ่ๆคือ
 ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software)
 ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Applicattion Software)
 และซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
      1.ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software)
 ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแป้นข้อมูลบนหน่วยความจำรอง
          System Software  หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักดีก็คือ DOS,Windowe,Unix,Liunx รวมทั้งแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran,Pascal,Cobol,C เป็นต้น
        นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น
หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก  เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งระหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์  ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น  เมาส์  ลำโพง เป็นต้น
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก จำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์  เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการในสารบบ(directory) ในแผ่นบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
        ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็น  ระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษา